อาหาร I การเกษตร

สหราชอาณาจักร ประสบปัญหาจากสภาวะเงินเฟ้อ – ค่าครองชีพ!

สภาวะเงินเฟ้อและค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องได้ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของภาคครัวเรือนทั่วไปในสหราชอาณาจักรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และล่าสุดสำนักงานสถิติแห่งชาติของสหราชอาณาจักร (Office for National Statistics - ONS) รายงานว่า อัตราค่าครองชีพในรอบ 12 เดือน (พฤษภาคม 2564 - พฤษภาคม 2565) ปรับขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 9.1 จากร้อยละ 9...

Read more

ผลกระทบ และแนวทางแก้ปัญหาของรัฐ New South Wales จากสงครามรัสเซีย-ยูเครน 

รัฐ New South Wales (NSW) เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในออสเตรเลีย โดยผลผลิตมวลรวมของรัฐฯ (Gross State Product) ในปี 2020-2021 อยู่ที่ 643,145 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ส่วนผลผลิตมวลรวมต่อหัว อยู่ที่ 77,532 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย คิดเป็นสัดส่วนเกือบ...

Read more

Panchkhal : Smart City แห่งแรกของเนปาล

เทศบาลเมือง Panchkhal ตั้งอยู่ 45 กิโลเมตรทางด้านตะวันออกของกรุงกาฐมาณฑุ มีพื้นที่ครอบคลุมประมาณ 692 เอเคอร์ มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน Kavrepalanchok district และ Panchkhal ถือว่าเป็นเมืองที่โดดเด่นทางด้านการเกษตร  นาย Mahesh Kharel นายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง Panchkhal ระบุถึงวิสัยทัศน์ที่จะสร้างเมืองอัจฉริยะ...

Read more

ติดตามผลกระทบจากสงครามรัสเซีย – ยูเครน ต่อประเทศในยุโรป

สงครามรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลกระทบต่อการค้า และห่วงโซ่อุปทานระหว่างประเทศอย่างมาก ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง จากการที่หลายชาติหันมาห้ามนำเข้า-ส่งออกสินค้ารัสเซีย และให้ความช่วยเหลือยูเครนด้านมนุษยธรรม ที่อยู่ หรืออาหาร ซึ่งหลายประเทศในยุโรปต่างออกมาแสดงจุดยืนในการแบนการนำเข้าสินค้าหลายรายการจากรัสเซีย ซึ่งส่งผลกระทบไปยังทุกประเทศทั่วโลกอย่างหนัก รวมไปถึงประเทศต่าง ๆ ในยุโรปด้วยเช่นกัน รัฐไบเอิร์น แห่งเยอรมนีเป็นอีกหนึ่งแห่งที่ได้รับผลกระทบในภาคการเกษตร โดยหนึ่งในนั้น คือราคานมวัวมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ปัจจุบัน เกษตรกรผู้เลี้ยงวัวนมสามารถสร้างผลผลิตน้ํานมวัวเกินกว่าร้อยละ 170...

Read more

อิสราเอลผ่อนปรนการนำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอิสราเอล แถลงนโยบายการผ่อนปรนข้อจำกัดในการนำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค ซึ่งจะเริ่มผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เป็นต้นไป โดยอิสราเอลได้ออก Review of the New Import Reform ซึ่งระบุรายละเอียดของมาตรการผ่อนปรนภายใต้การปฏิรูประบบการนำเข้าสินค้าของอิสราเอลดังกล่าว ภายใต้หลักการให้สินค้าที่ผ่านการอนุมัติมาตรฐานของประเทศที่พัฒนาแล้วสามารถผ่านการนำเข้าอิสราเอลได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบยอมรับมาตรฐานของอิสราเอลอีก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอุปสรรคและต้นทุนของหารนำเข้าสินค้าและส่งเสริมการแข่งขันของตลาดภายในประเทศให้มากขึ้น ซึ่งจะสร้างประโยชน์แก่ผู้บริโภคในแง่ราคาของสินค้าที่ถูกลงนับหมื่นรายการ และมีทางเลือกสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น ทั้งนี้ สำหรับการนำเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน เช่น...

Read more

มณฑลกวางตุ้งปลูกทุเรียนสําเร็จ อนาคตตลาดทุเรียนที่ไทยต้องจับตามอง 

ทุเรียน ราชาผลไม้ ที่นอกจากจะมีรสชาติอร่อยและมีกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์แล้ว ยังถือเป็นผลผลิตทางการเกษตรที่ทำเงินมหาศาลให้กับประเทศไทยอีกด้วย แต่เมื่อไม่นานมานี้ ประเทศจีนได้ประกาศถึงความสำเร็จในการทดลองปลูกทุเรียนสายพันธุ์มูซานคิง และพันธุ์หนามดํา ซึ่งเป็นที่นิยมในตลาดอย่างมาก จากปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้ เรียกได้ว่าสร้างความหวาดหวั่นให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนชาวไทยได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 เกษตรกรมณฑลม้าวหมิง มณฑลกวางตุ้งประสบความสําเร็จในการปลูกทุเรียนพันธุ์มูซานคิงและพันธุ์หนามดําที่นําต้นกล้ามาจากมาเลเซีย โดยเริ่มปลูกครั้งแรก เมื่อปี 2561 ซึ่งประสบผลสําเร็จครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม...

Read more

การส่งเสริม Soft Power ไทยผ่านข้าวเหนียวมะม่วงและทุเรียนในคูเวต

มะม่วงและทุเรียนไทยเป็นผลไม้ที่ศักยภาพในประเทศคูเวต เนื่องจากเป็นที่นิยมทั้งจากชุมชนไทยและชุมชนอาเซียนในประเทศ รวมทั้งชาวคูเวตมีความคุ้นเคยกับผลไม้ดังกล่าว เนื่องจากได้มีโอกาสเดินทางไปเที่ยวไทยอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้ง กระแสความนิยมข้าวเหนียวมะม่วงในปัจจุบัน ประกอบกับการนำเสนอขนมไทยในลักษณะของอาหารว่าง นอกเหนือจากการเป็นเพียงแค่ขนมประจำชาติแบบดั้งเดิมของไทย จึงส่งผลให้อาหารเหล่านี้กลายเป็นที่นิยมของคนรุ่นใหม่ ซึ่งเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ทันสมัยต่อผลไม้ไทยและขนมไทยในสายตาคนคูเวตที่ชื่นชอบรสชาติที่ “หวาน หอม” เป็นทุนเดิม ดังนั้น จึงเป็นการดีที่ทางรัฐบาลไทยควรประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้มีการนำเข้าผลไม้ไทยในคูเวต เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายและทำให้เข้าถึงผู้บริโภคในคูเวตมากยิ่งขึ้น โดยทางสถานเอกอัครราชทูต ณ คูเวต ได้มีการจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 4...

Read more

ด่านรถไฟผิงเสียง ทางเลือกที่สำคัญในการส่งออกผลไม้ไทยไปจีน

ปัจจุบัน เกษตรกรมีหลากหลายทางเลือกส่งออกผลไม้จากไทยไปกว่างซี ประเทศจีน  ซึ่งนอกจากการขส่งด้วยรถบรรทุกและเรือที่ได้รับความนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว ปัจจุบันการขนส่งผลไม้ไทยผ่านเส้นทางรถไฟเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น ด่านรถไฟที่สำคัญแห่งหนึ่งในการลำเลียงผลไม้ไทยไปยังจีน คือ ด่านรถไฟผิงเสียง ตั้งอยู่ในเมืองผิงเสียง เขตกว่างซีจ้วง ห่างจากด่านทางบกโหย่วอี้กวาน ประมาณ 14 กิโลเมตร ซึ่งเป็นด่านนำเข้าผลไม้ทางรถไฟแห่งแรกของจีน และได้รับอนุญาตให้นำเข้าผลไม้ไทยตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2563 เป็นต้นมา...

Read more
Page 7 of 7 1 6 7
0

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

FOLLOW US

Welcome Back!

Login to your account below

Create New Account!

Fill the forms below to register

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.