ในปี 2523 รัฐบาลกลางประกาศให้เมืองเซินจิ้ นเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่ งแรกของจีน นับแต่นั้นจากเมืองที่เต็มไปด้ วยหมู่บ้านชาวประมงอันเงียบเหงา กลับกลายเป็นเมืองที่มีความสำคั ญด้านเศรษฐกิจ เป็นแหล่งบ่มเพาะเทคโนโลยีขั้ นสูงของประเทศ จนได้รับการขนานนามว่าเป็น “ซิลิคอนวัลเลย์” ของจีน เซินเจิ้นจึงเป็นที่ตั้งของบริ ษัทด้านเทคโนโลยนีชั้ นนำของโลกมากมาย อาทิ Airbus, Foxconn, Huawei, ZTE, Tencent, DJI และอีกมากมาย เป็นแหล่งผลิตชิ้นส่วนอิเล็ กทรอนิกส์ อุปกรณ์โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์และสินค้าเทคโลยีขั้ นสูงที่สำคัญของโลก นอกจากนี้เซินเจิ้นยังมี โครงการลงทุนด้านเทคโนโลยีที่มี มูลค่ามากกว่า 20 ล้านหยวน (project above designated size) กว่า 2,087 โครงการ มีความได้เปรียบด้านทรัพยากรมนุ ษย์เนื่องจากมีจำนวนผู้ที่ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกมากถึ งร้อยละ 20 ของประชากร มีจำนวนนักวิจัยกว่า 2.02 แสนคน มีเม็ดเงินลงทุนด้านการวิจั ยและพัฒนากว่า 84,200 ล้านหยวน อีกทั้งยังเป็นเมืองที่ใช้อิ นเตอร์เน็ตยาวนานที่สุดในจี นเฉลี่ยคนละ 44.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ [su_spacer size=”20″]
ปัจจุบันเซินเจิ้นมีธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีมากมาย แต่เทคโนโลยีที่ถูกมองว่าเป็ นคลื่นลูกใหม่และคาดว่าจะเข้ ามายกระดับเทคโนโลยีของจีนไปอี กขั้นคือ “เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle (UAV) หรือ โดรน (Drone)” ในเซินเจิ้นมีบริษัทที่เกี่ยวข้ องกับโดรนกว่า 2,000 บริษัท เป็นบริษัทผู้ผลิตกว่า 600 บริษัท บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุ ปกรณ์อีกกว่า 500 บริษัท โดยมี บริษัท DJI เป็นหัวหอกสำคัญที่ผลักดันให้ เทคโนโลยีโดรนของเซินเจิ้นมีส่ วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกสูงกว่ าร้อยละ 70 ในปี 2560 เซินเจิ้นมีมูลค่าการผลิตของอุ ตสาหกรรมโดรนเท่ากับ 4,443 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (30,000 หยวน) คาดว่ามูลค่าการผลิตในปี 2565 จะสูงถึง 15,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 101,227 หยวน) คิดเป็น 12 เท่าของปี 2559[su_spacer size=”20″]
งานประชุมโดรนโลก ณ เมืองเซินเจิ้น
เซินเจิ้นเป็นผู้นำด้านอุ ตสาหกรรมโดรนที่สำคัญของโลก จึงไม่แปลกเลยหากในพื้นจะเต็ มไปด้วยบริษัท หน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมากมาย จึงเป็นที่มาของการรวมตัวกั นในงานประชุมโดรนโลก ที่จัดโดยสหพันธ์เทคโนโลยี สารสนเทศและอุตสาหกรรมจีน สมาพันธ์อุตสาหกรรมโดรนจีน และสมาคมอุตสาหกรรมโดรนเซินเจิ้ น[su_spacer size=”20″]
ล่าสุดงานประชุมโดรนโลกครั้งที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ เมืองเซินเจิ้น ในพื้นที่กว่า 15,000 ตารางเมตร ประกอบด้วยกิจกรรมงานสัมนากว่า 80 หัวข้อ และงานจัดแสดงสินค้าและอุปกรณ์ โดรนประเภทต่าง ๆ จากบริษัทในพื้นที่ ภายในงานยังมีตัวแทนจากองค์ กรเกี่ยวกับอากาศยานไร้คนขับ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการจาก 41 ประเทศทั่วโลก รวมถึงตัวแทนสถานทูตและสถานกงสุ ลจาก 21 ประเทศรวมถึงไทย การจัดงานมีจุดประสงค์ที่จะเป็ นศูนย์รวมบุคคลากรด้านเทคโนโลยี อากาศยานไร้คนขับหรือโดรนในทุ กระดับตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ เป็น platform สำคัญในการแลกเปลี่ยนและสร้ างเครือข่ายเทคโนโลยีโดรนให้ ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้น[su_spacer size=”20″]
เซินเจิ้นเป็นผู้นำด้านอุ
ล่าสุดงานประชุมโดรนโลกครั้งที่ 2 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561 ณ เมืองเซินเจิ้น ในพื้นที่กว่า 15,000 ตารางเมตร ประกอบด้วยกิจกรรมงานสัมนากว่า 80 หัวข้อ และงานจัดแสดงสินค้าและอุปกรณ์
รูปแบบการใช้งานโดรนในจีน
ในจีน “โดรน” ไม่เพียงแต่จำกัดการใช้งานด้ านทหารหรือความบันเทิงและสั นทนาการเท่านั้น เนื่องจากโดรนมีหลากหลายรู ปแบบและยังได้รับการพัฒนาให้ สามารถใช้ประโยชน์ในอุ ตสาหกรรมที่หลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมเกษตร การขนส่งและโลจิสติกส์ นอกจากนี้ ยังมีการใช้งานด้านอื่น ๆ ที่กำลังนำเทคโนโลยี โดรนมายกระดับประสิทธิ ภาพของการทำงาน อาทิ งานศึกษาวิจัยทางภูมิศาสตร์ งานในภารกิจที่มีความเสี่ยง อาทิ การดับเพลิง การช่วยชีวิตและการรั กษาความปลอดภัย[su_spacer size=”20″]
โดรนในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ถือเป็นอุ ตสาหกรรมแรก ๆ ของโลกที่นำเทคโนโลยีโดรนเข้ ามาเพิ่มขีดความสามารถและศั กยภาพ โดยโดรนสำหรับโลจิสติกส์ได้ถู กนำมาใช้ในการขนส่งหลากหลายรู ปแบบ อาทิ การส่งสินค้าที่ซื้อผ่าน e-commerce การขนส่งยารักษาโรคไปยังพื้นที่ ห่างไกล การส่งอาหาร หรือสินค้าอื่น ๆ เป็นต้น บริษัทโลจิสติกส์ในจีนเริ่มหั นมาให้ความสำคัญของการใช้ โดรนในระบบโลจิสติกส์เนื่ องจากเป็นอุปกรณ์ที่ลดข้อจำกั ดด้านพื้นที่ในการจัดส่งสินค้ าและมีต้นทุนในระยะยาวที่ค่อนข้ างต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ มนุษย์ในการขนส่งสินค้า[su_spacer size=”20″]
JD Group คือบริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็ นอันดับที่สองของจีนรองจากอาลี บาบา นับเป็นผู้บุกเบิกการนำโดรนเข้ ามาใช้ในระบบโลจิสติกส์ โดยเริ่มต้นวิจัยและพั ฒนาโดรนเพื่อการขนส่งมาตั้งแต่ ปีในปี 2558 ภายใต้ความรับผิดชอบของ JDX innovation lab การนำโดรนเข้ามาใช้ส่งพัสดุ จากแพลตฟอร์ม jd.com มีจุดประสงค์สำคัญที่จะส่งส่งสิ นค้าไปถึงมือลูกค้าที่อาศัยอยู่ ในพื้นที่ห่างไกลและยากต่ อการเข้าถึงของจีน อาทิ เขตชนบทบนภูเขาสูง ต่อมาในปี 2559 JD.com เริ่มโครงการทดสอบการใช้โดรนอย่ างเป็นทางการ ครอบคลุมพื้นที่ในกรุงปักกิง มณฑลเสฉวน ซ่านซีและเจียงซู ปัจจุบัน JD Group มีโดรนขนส่งสินค้าจำนวน 40 ลำ สามารถบรรทุกสินค้าหนักตั้งแต่ 5 กิโลกรัมถึง 30 กิโลกรัม ครอบคลุมรัศมีระยะทางกว่า 100 กิโลเมตรต่อการบิน 1 ครั้ง ในปี 2560 JD Group ใช้โดรนขนส่งสินค้าไปยังหมู่บ้ านในพื้นที่ห่างไกลของจีนแล้ วกว่า 300,000 แห่ง[su_spacer size=”20″]
ในจีน “โดรน” ไม่เพียงแต่จำกัดการใช้งานด้
โดรนในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ถือเป็นอุ
JD Group คือบริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็
ในงานประชุมโดรนโลก ณ เมืองเซินเจิ้นที่ผ่านมา นางหลิว เยี่ยนกวง ประธานบริหาร JD UVA กล่าวว่า JD Group ได้ทุ่มเทพัฒนาเทคโนโลยีและนวั ตกรรมที่เกี่ยวกับโดรนมาใช้ ในการขนส่งพัสดุให้แก่ลูกค้าที่ อยู่ในพื้นที่ห่างไกลของจีน และปัจจบัน JD Group ยังมีการนำเทคโนโลยีดังกล่ าวไปใช้ในระบบการเกษตรของบริษัท ซึ่ง JD Group นับเป็นบริษัทอีคอมเมิร์ซแห่ งแรกของจีนที่มีพื้นที่ ทางการเกษตรเป็นของตนเอง โดยบริษัทมั่นใจว่าโดรนจะเข้ ามาขยายและพัฒนาศักยภาพของธุรกิ จให้ดียิ่งขึ้น[su_spacer size=”20″]
ปัจจุบัน บริษัท Cainiao โลจิสติกส์ โดยอาลีบาบาเริ่มเข้ามาแข่งขั นด้านการใช้โดรนการส่งสินค้าเช่ นเดียวกัน โดยมีความร่วมมือกับบริษัท Beihang Unmanned Aircraft System ผลิตโดรนขนส่งสินค้าที่สามารถบิ นได้ไกลถึง 1,500 กิโลเมตร ขณะเดียวกัน Ele.me และ Alibaba’s Food เพิ่งได้รับอนุญาตให้ ทดสอบการใช้โดรนในพื้นที่ หลายแห่งในจีนอีกด้วย[su_spacer size=”20″]
ปัจจุบัน บริษัท Cainiao โลจิสติกส์ โดยอาลีบาบาเริ่มเข้ามาแข่งขั
โดรนกับอุตสาหกรรมการเกษตร
ในปี 2557 จีนกลายเป็นประเทศที่มีมูลค่ าของอุตสาหกรรมเกษตรสูงถึง 400,000 ล้านหยวน (ประมาณ 79,549 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) แซงหน้าสหรัฐอเมริกา กลายเป็นประเทศที่มีมูลค่ าทางการเกษตรสูงที่สุดในโลก คิดเป็นร้อยละ 45 ของมูลค่าการเกษตรทั้งโลก โดยต้นทุนของอุปกรณ์และเครื่ องจักรทางการเกษตรของจี นลดลงมาตั้งแต่ปี 2557 กว่าร้อยละ 10 และร้อยละ 4 ในปี 2559 ซึ่งเกษตรกรจีนสามารถลดต้นทุ นของการผลิตสินค้าเกษตรและได้รั บกำไรที่สูงขึ้น สามารถยกระดับความเป็นอยู่ให้สู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง[su_spacer size=”20″]
ในปี 2557 จีนกลายเป็นประเทศที่มีมูลค่
ปัจจุบันเกษตรกรชาวจีนกว่าร้ อยละ 90 ยังใช้อุปกรณ์ฉีดพ่นควบคุมด้ วยมือ มียอดการผลิตเท่ากับ 8 ล้านเครื่องต่อปี คาดว่าอุปกรณ์ฉีดพ่นแบบดั้งเดิ มอยู่ในมือเกษตรกรจีนรวมทั้งสิ้ นกว่า 100 ล้านเครื่อง อย่างไรก็ดี อุปกรณ์การเกษตรประเภทฉีดพ่ นแบบดั้งเดิม เป็นอุปกรณ์ที่ควบคุมด้วยมือ มีข้อจำกัดในการใช้ งานและการควบคุมปริมาณสารฉีดพ่ นต่อพื้นที่ เป็นสาเหตุของผลผลิ ตทางการเกษตรที่ไม่คงที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกรในพื้ นที่ตอนกลางและฝั่งตะวันตกของจี นที่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีน้อย รัฐบาลจึงเข้ามาช่วยเหลือและสนั บสนุนเพื่อให้เกษตรกรสามารถผลิ ตสินค้าเกษตรได้อย่างมีประสิทธิ ภาพมากขึ้น โดยพึ่งพาเทคโนโลยีที่สำคั ญของจีน โดยในปี 2558 กระทรวงเกษตรจีนได้ออกแผนพั ฒนารูปแบบการทำการเกษตร โดยหนึ่งในแผนดังกล่าวคือการสนั บสนุนให้เกษตรกรเปลี่ยนจากอุ ปกรณ์การเกษตรแบบดั้งเดิม แล้วหันมาใช้อุปกรณ์ที่มี เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น โดรน เพื่อการควบคุมและยกระดับประสิ ทธิการของการผลิตสินค้ าการเกษตรให้ดียิ่งขึ้น[su_spacer size=”20″]
ปัจจุบันบริษัทโดรนชั้ นนำของโลกอย่าง DJI ได้นำเสนอรูปแบบการใช้โดรนเข้ ากับอุตสาหกรรมการเกษตร โดยเปิดตัวโดรนพ่นสารเคมีสำหรั บการเกษตรมาตั้งแต่ปี 2015 อาทิ โดรนรุ่น AGRASMG-1 ใช้พ่นสารเคมีในพื้นที่ เกษตรกรรม สามารถบรรทุกของเหลวได้สูงสุด 10 กิโลกรัม บินครอบคลุมพื้นที่ 4000-6000 ตารางเมตร ในเวลาเพียง 10 นาที ประหยัดเวลามากกว่าการใช้ แรงงานมนุษย์ถึง 40-60 เท่า สามารถบินได้สูงสุด 24 นาที (ระยะเวลาการบินขึ้นอยู่กับน้ำ หนักขณะขึ้นบิน) นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีที่ สามารถคำนวนและสำรวจพื้นที่ อีกทั้งยังสามารถวาดแผนที่ดิจิ ตอลของพื้นที่การเกษตรได้อีกด้ วย[su_spacer size=”20″]
นายหลี่ เจ๋อเซียง ประธานบริหารบริษัท DJI และศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลั ยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฮ่องกง กล่าวว่าผลิตภัณฑ์โดรนที่ จะประสบความสำเร็จต้องมีคุณสมบั ติที่สามารถตอบสนองความต้ องการของตลาด ณ เวลานั้นได้ ช่วยบริการและแก้ปัญหาที่ตรงจุด ส่วนปัจจัยที่ทำให้ไม่ ประสบความสำเร็จในการผลิตหุ่ นยนต์ ได้แก่ สินค้าไม่ตอบสนองความต้ องการของตลาด ไม่รองรับการเติบโตและขาดการจั ดสรรทรัพยากรและงบประมาณที่ เหมาะสม[su_spacer size=”20″]
นายหลี่ เจ๋อเซียง ประธานบริหารบริษัท DJI และศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลั
กฎระเบียบและข้อจำกัดของโดรน
นายเฉิน จื้อเจี๋ย คณะกรรมการสถาบันวิศวกรรมแห่ งประเทศจีน กล่าวว่าปัจจุบันเทคโนโลยี โดรนได้พัฒนาไปสู่ระดับที่สู งและถูกใช้งานอย่างแพร่ หลายมากขึ้น ซึ่งในอนาคตไม่เพียงแต่ใช้ ประโยชน์ในการทหารเท่านั้น แต่อาจถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมื อในการขนส่งสินค้าผิดกฎหมายหรื อการโจมตีทางอากาศอีกด้วย นำมาซึ่งความกังวลเกี่ยวกั บการนำเทคโนโลยีไปใช้ในทางที่ผิ ด และก่อให้เกิดปัญหาด้านความมั่ นคงและความปลอดภัยของประชาชนเอง ดังนั้นภาครัฐจึงควรมี มาตรการควบคุมอากาศยานไร้คนขับ ในทุกระดับการใช้งาน ครอบคลุมการป้องกันปัญหาด้ านความมั่นคง ความปลอดภัยและด้านการพั ฒนาของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบัน นายเฉินฯ มองว่ากฎระเบียบควบคุมยังไม่ ครอบคลุมมากพอ ซึ่งควรได้รับการปรับปรุงและพั ฒนาอย่างเหมาะสมต่อไป[su_spacer size=”20″]
นายเฉิน จื้อเจี๋ย คณะกรรมการสถาบันวิศวกรรมแห่
อุตสาหกรรมโดรนกับประเทศไทย
โดรนเริ่มใช้อย่างแพร่ หลายในไทยเพียง 2 – 3 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น โดยการใช้งานส่วนใหญ่ยังคงจำกั ดอยู่เพียงแค่การใช้เพื่อความบั นเทิง อาทิ การถ่ายภาพ วีดีโอ ภาพยนต์และกิจกรรมสันทนาการอื่น ๆ โดยมีการควบคุมการใช้ งานโดยคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ซึ่งกำหนดให้ผู้ใช้งานโดรนทุ กประเภทจะต้องขึ้นทะเบียนให้เรี ยบร้อยก่อนดำเนินการบิน ซึ่งนับตั้งแต่วันที่ 12 ต.ค. – 28 พ.ย. 2560 พบว่ามีผู้ขึ้นทะเบียนโดรนทั้ งหมด 5,280 เครื่อง แบ่งเป็นขึ้นทะเบียนในส่วนกลาง 2,344 เครื่อง ขึ้นทะเบียนในส่วนภูมิภาค 2,936 เครื่อง ทั้งนี้ กระทรวงคมนาคมได้ออกประกาศระเบี ยบและควบคุมการใช้ งานโดรนในไทยโดยอนุญาตการใช้งาน 2 ประเภท ได้แก่ (1) ประเภทที่ใชเพื่อวัตถุ ประสงคในการเลนเปนงานอดิเรก เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา และ (2) ประเภทที่ใชเพื่อวัตถุประสงคอื่ น เช่น การถ่ายภาพ รายงานการจราจร การวิจัยและพัฒนาอากาศยานอื่น ๆ ซึ่งหากผู้ใดทำกระทำความผิดต่ อกฎอย่างใดอย่างหนึ่งต้ องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ[su_spacer size=”20″]
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรีและที่ปรึ กษา World UAV Federation กล่าวในงานประชุมโดรนโลก ณ เมืองเซินเจิ้น มณฑลกวางตุ้ง เมื่อเดือนมิถุนายนว่า ผู้ผลิตโดรนควรคำนึงถึ งการนำเทคโนโลยีไปใช้ในงานที่ผิ ดกฎหมาย ซึ่งผู้ผลิตควรมีเทคโนโลยีที่ สามารถจำกัดการใช้งานที่เสี่ ยงต่ออันตรายหรือผิดกฎหมาย ไทยในฐานะที่เป็นประเทศที่เริ่ มใช้โดรนอย่างแพร่หลาย ควรศึกษาความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีโดรนของจีนเพื่ อนำมาปรับใช้กับอุตสาหกรรมที่ หลากหลายมากขึ้น[su_spacer size=”20″]
ปัจจุบันถึงแม้การใช้โดรนในอุ ตสาหกรรมโลจิสติกส์หรืออุ ตสาหกรรมเกษตรในไทยยังมีน้อย เนื่องจากความจำกัดด้ านเทคโนโลยีและต้นทุนค่อนข้างสู ง อย่างไรก็ดี แนวโน้มการใช้เทคโนโลยี โดรนในการยกระดับประสิทธิ ภาพและพัฒนาอุตสาหกรรมด้านต่าง ๆ ก็คงยังมีความสำคัญที่ไทยต้องจั บตามอง ในขณะเดียวกันก็สามารถศึกษาเรี ยนรู้และแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี โดรน เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรั บการใช้โดรนเข้ามายกระดับการพั ฒนาเศรษฐกิจของไทย [su_spacer size=”20″]
โดรนเริ่มใช้อย่างแพร่
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา อดีตรองนายกรัฐมนตรีและที่ปรึ
ปัจจุบันถึงแม้การใช้โดรนในอุ
สถานกงสุลใหญ่ ณ นครกว่างโจว