ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทยยังคงหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง เป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้อัตราการส่งออกสินค้าและบริการในเดือนกรกฎาคม 2563 ลดลงร้อยละ 11.61 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ประกอบกับ เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2563 ที่ผ่านมา สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ออกมาเปิดเผยตัวเลข GDP ของไทยไตรมาสที่ 2/2563...
Read moreนครเกียวโตเคยเป็นเมืองหลวงของญี่ปุ่นกว่า 1,000 ปี มีประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมมากมายที่พัฒนาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ จนขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองท่องเที่ยวยอดนิยมอันดับต้น ๆ ของโลก ที่ต้อนรับนักท่องเที่ยวทั้งญี่ปุ่นและชาวต่างชาติกว่า 80 ล้านคนต่อปี แต่น้อยคนที่รู้จักศักยภาพของเกียวโตในเชิงนวัตกรรมและเทคโนโลยีว่าเป็นจังหวัดที่มีบริษัทที่ดำเนินธุรกิจยาวนานเกิน 100 ปี ตั้งอยู่จำนวนมากถึง 1,403 บริษัท และยังเป็นที่ตั้งของบริษัทระดับโลกหลายแห่ง เช่น Kyocera Shimadzu...
Read moreยุโรปถือเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาด้านนวัตกรรมสูง เนื่องจากภาคเศรษฐกิจนวัตกรรมมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของยุโรปอย่างมาก โดยสองในสามของการเติบโตทางเศรษฐกิจของยุโรปในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้รับแรงหนุนจากนวัตกรรมทั้งสิ้น และการวิจัยและนวัตกรรมก็มีบทบาทสำคัญในการช่วยสหภาพยุโรปรับมือกับการแพร่ระบาดของ COVID-19 อีกด้วย ทั้งนี้ ทุกปีคณะกรรมาธิการยุโรปจะทำการเผยแพร่ตารางคะแนนนวัตกรรมของยุโรป (European Innovation Scoreboard) ซึ่งเป็นรายงานวิเคราะห์เชิงลึกเกี่ยวกับความสามารถในการแข่งขัน ด้านนวัตกรรมของประเทศสมาชิก EU เปรียบเทียบทั้งประเทศในกลุ่ม EU และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้ประเทศสมาชิกและสหภาพยุโรปสามารถประเมินความพยายามที่จะต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป...
Read moreการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ไม่เพียงสร้างผลกระทบต่อวิถีชีวิตให้ต้องก้าวสู่วิถี New Normal แต่ยังรวมถึงการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของทั้งโลก ส่งผลให้นานาประเทศต้องเพิ่มความเข้มงวดด้าน “การค้าระหว่างประเทศ” ทั้งการลงทุน การติดต่อธุรกิจ และการนำเข้า-ส่งออก รวมถึงเวียดนามซึ่งได้ใช้มาตรการ lockdown ในช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด การดำเนินมาตรการ lockdown อย่างเข้มงวดของเวียดนามได้ส่งผลดีต่อประเทศอย่างมาก เนื่องจากช่วยให้จำนวนของผู้ติดเชื้อ COVID-19...
Read moreในสถานการณ์ปัจจุบันที่ทั่วโลกกำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งส่งกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนและเศรษฐกิจของโลก หลายประเทศได้พยายามแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาผ่านการปรับเปลี่ยนวิถีการพัฒนาให้มุ่งหน้าไปสู่ทิศทางของความยั่งยืน เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสามารถเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ยุโรปเป็นภูมิภาคหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหาภูมิอากาศแปรปรวน ส่งผลให้สหภาพยุโรป (EU) หันมาให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งเป็นแนวคิดทางเศรษฐกิจที่มุ่งให้เกิดความกินดีอยู่ดีของมนุษย์และความเท่าเทียมทางสังคม แต่ลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของระบบนิเวศน์ให้ได้มากที่สุด โดย EU ได้ออกนโยบายหลักของคณะกรรมาธิการยุโรปชุดปัจจุบัน (2563 – 2567)...
Read moreสหภาพยุโรป (EU) ได้ให้ความสําคัญกับการนําปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence - AI) มาใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศตลอดจนเพื่อแก้ไขปัญหาสําคัญต่าง ๆ เช่น การใช้ AI ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล และการใช้โดรนในงานภาคการเกษตร เป็นต้น โดยในปี 2563 EU ได้เพิ่มงบประมาณสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้าน...
Read moreเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563 สหราชอาณาจักรได้ถอนตัวออกจากสหภาพยุโรป สิ้นสุดการเป็นสมาชิกนาน 47 ปี อย่างไรก็ดี สหภาพยุโรปและสหราชอาณาจักรยังคงต้องเจรจาความตกลงฉบับใหม่เพื่อกำหนดรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างกัน ช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 31 ธันวาคม 2563 จึงเรียกว่าเป็น “ช่วงเปลี่ยนผ่าน” หรือ...
Read more“ข้าว” เป็นอาหารหลักของชาวบาห์เรนและชาวต่างชาติที่พำนักอาศัยอยู่ในบาห์เรน มีความสำคัญกับการดำรงชีวิตของผู้คนเป็นอย่างมากมาก รัฐบาลบาห์เรนจึงไม่เก็บภาษีนำเข้าข้าวจากต่างประเทศ รวมถึงข้าวที่นำเข้าจากไทย ข้าวไทยจึงเป็นที่รู้จักกันดีในบาห์เรนว่าเป็นข้าวที่ราคาสูงเนื่องจากมีคุณภาพและรสชาติอร่อยถูกปาก ชาวบาห์เรน โดยชาวบาห์เรนและชาวต่างชาติในบาห์เรนเป็นผู้มีกำลังซื้อสูงจึงนิยมบริโภคข้าวหอมมะลิของไทย แม้ว่าคู่แข่งสำคัญในตลาดข้าวของไทยในบาห์เรน คือ อินเดีย เพราะมีประชาชนชาวอินเดียอาศัยอยู่ในบาห์เรนราวร้อยละ 40 ของประชากรบาห์เรนทั้งประเทศ ทำให้อินเดียส่งออกข้าวบาสมาติที่มียอดจำหน่ายและการนำเข้าสูงกว่าข้าวไทยเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม แม้ความนิยมของข้าวอินเดียจะอยู่ในระดับที่สูสีหรือเหนือกว่าข้าวไทย แต่อินเดียก็ยังไม่ใช่คู่แข่งโดยตรงของไทยเช่นเวียดนามที่ส่งออกข้าวหอมมะลิ และข้าวขาวมายังบาห์เรน รวมทั้งยังมีราคาขายต่อตันถูกกว่าข้าวไทยมากด้วย...
Read moreสหภาพยุโรปเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยคณะกรรมาธิการยุโรปคาดการณ์ว่า เศรษฐกิจของภูมิภาคจะหดตัวกว่า 7.4% ในปี 2563 และกลับมาขยายตัว 6.1% ในปี 2564 นอกจากนี้ อัตราการว่างงานมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และตัวเลขการขาดดุลงบประมาณและหนี้สาธารณะก็จะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดสืบเนื่องจากมาตรการการเงินการคลังที่รัฐบาลจำเป็นต้องนำออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจ สำหรับตัวเลขการค้า คณะกรรมาธิการยุโรปคาดว่า ในปี2563 การส่งออกของอียูจะหดตัว 9-15% (คิดเป็น 282-470...
Read moreในช่วงที่ผ่านมาประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมได้กลับมาเป็นประเด็นที่สังคมโลกตื่นตัวเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว หากไม่รีบทำการแก้ไขอาจทำให้มนุษย์ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ การรอให้ผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเดียวนั้นคงไม่พอ ผู้ผลิตก็จำเป็นที่จะต้องให้ความร่วมมือเช่นกัน จึงเป็นที่มาของแนวคิดที่เรียกว่า เศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ “Circular Economy” Circular Economy หรือระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นแนวคิดใหม่ที่จะพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไปสู่ความยั่งยืน โดยการมุ่งให้ความสำคัญกับการเลือกใช้วัสดุ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในกระบวนการที่เกี่ยวข้องตลอดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด นำมาสู่การปราศจากของเสียและมลพิษตลอดทั้งกระบวนการของสินค้าและบริการ รัฐบาลและนักสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจึงให้ความสำคัญกับ Circular...
Read more© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.