ไฮไลท์
-
“กล้วยหอม” เป็นผลไม้ชนิดแรกของกัมพูชาที่
มีโอกาสเข้าตลาดจีน หลังจากรัฐบาลจีนและกัมพูชาได้ ร่วมลงนาม “ข้อตกลงการตรวจกักกันโรคสำหรั บกล้วยหอมกัมพูชาที่จะส่งเข้ าสาธาณรัฐประชาชนจีน” ในเดือนสิงหาคม 2561 -
ความต้องการบริโภคกล้วยหอมนำเข้
าในตลาดจีนมีแนวโน้มเติบโตอย่ างต่อเนื่อง ปัจจุบัน ประเทศจีนอนุญาตการนำเข้ากล้ วยหอมจาก 11 ประเทศทั่วโลก รวมถึงไทย แม้ว่าฟิลิปปินส์จะยังเป็นเจ้ าครองตลาดกล้วยหอมนำเข้าในจีน แต่หลายฝ่ายคาดว่ากัมพูชาจะเริ่ มเข้ามามีบทบาทในตลาดจีนในไม่ช้ า -
ปีแรกที่กัมพูชาส่งออกกล้
วยหอมไปจีน กัมพูชาได้โดดแซงหน้ าประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกอันดับ 7 ของจีน ในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2562 พบว่า ปริมาณการส่งออกกล้ วยหอมของไทยตกลงจากอันดับ 5 ไปอยู่อันดับ 8 ส่งผลให้ส่วนแบ่ งทางการตลาดลดลงจาก 1.51% เหลือเพียง 0.75% -
ทางการจีนได้ส่งผู้เชี่
ยวชาญลงพื้นที่ในกัมพูชาเพื่ อตรวจประเมินความเสี่ยงด้ านโรคพืชและแมลงศัตรูพืชสำหรั บสินค้าเกษตรหลายชนิดของกัมพู ชาที่จะส่งออกไปจีนแล้ว อาทิ มะม่วง ลำไย ทุเรียน แก้วมังกร มะพร้าว พริกไทย และรังนก ซึ่งส่วนใหญ่เป็น “สินค้าทับซ้อน” กับของไทยแทบทั้งสิ้น ซึ่งอาจส่งผลต่อฐานสินค้ าเกษตรไทยในจีนไม่น้อย -
ผู้ประกอบการไทยต้องเร่งสร้
างแต้มต่อให้กับสินค้าเกษตรด้ วยการพัฒนานวัตกรรมสินค้ าเกษตรเพื่อบุกตลาดจีน ซึ่งเป็นตลาดที่มีศั กยภาพและกำลังซื้อสูง ผู้บริโภคต้องการสินค้าคุ ณภาพและแปลกใหม่ เพื่อตอกย้ำคุณภาพ Made in Thailand
[su_spacer]
[su_spacer]
ธุรกิจกล้วยหอม(สด)ของกัมพู
[su_spacer]
เดิมทีกล้วยหอมกัมพูชาที่จะเข้
[su_spacer]
แม้ว่าจีนจะสามารถปลูกกล้
[su_spacer]
ปัจจุบัน จีนอนุญาตการนำเข้ากล้วยหอมจาก 11 ประเทศทั่วโลก รวมถึงไทย ในปี 2561 จีนมีการนำเข้ากล้วยหอม 1.54 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 50% และในปี 2562 พบว่า ช่วง 11 เดือนแรก มีการนำเข้าแล้ว 1.79 ล้านตัน ส่วนใหญ่นำเข้าจากฟิลิปปินส์ (ส่วนแบ่งตลาด 53.17%) เอกวาดอร์ (24.02%) เวียดนาม (14.22%) เมียนมา (4.28%) และโคลอมเบีย (1.02%)
[su_spacer]
มณฑลที่มีการนำเข้ากล้
[su_spacer]
ทำไมจีนปลูกกล้วยหอมได้ แต่ยังต้องการนำเข้า?
-
แรงจูงใจของเกษตรกรในการปลูกกล้
วยหอมลดลง เนื่องจากธุรกิจสวนกล้วยหอมในจี นก้าวสู่ยุค “ต้นทุนสูง” มานานแล้ว ขณะที่ราคาจำหน่ายหน้าสวนมี ความผันผวนค่อนข้างมาก เกษตรกรไม่ได้เป็นผู้กำหนดราคา ส่งผลให้กำไรของเกษตรกรลดลง -
พันธุ์กล้วยหอมไม่หลากหลาย ไม่สามารถตอบสนองความต้
องการของตลาด ไม่สามารถทนต่ อโรคและสภาพอากาศในพื้นที่ และไม่ทนทานต่อการลำเลียงขนส่ง -
คุณภาพและรสชาติของกล้วยหอมท้
องถิ่นไม่สามารถแข่งขันกับกล้ วยหอมนำเข้าได้ ส่งผลให้เกษตรกรใช้ยาฆ่ าแมลงและปุ๋ยเคมีอย่างรู้เท่ าไม่ถึงการณ์ เทคนิคและความรู้ ของเกษตรกรในการปลูกกล้ วยปลอดสารพิษ การป้องกันโรคแมลงศัตรูพืช รวมทั้งเทคนิคการเก็บเกี่ ยวผลผลิตยังไม่ก้าวหน้าเพียงพอ ทำให้ผู้บริโภค โดยเฉพาะพวกสายรักสุขภาพไม่นิ ยมบริโภคกล้วยท้องถิ่น
[su_spacer]
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับอุ
-
ปี 2562 กัมพูชาส่งออกกล้วยหอม 1.57 แสนตัน ส่วนใหญ่ส่งออกไปตลาดจีน แหล่งปลูกกล้วยหอมสำคัญอยู่ในจั
งหวัดรัตคีรี จังหวัดกระแจะ และจังหวัดกำปอด มีสวนกล้วยหอมและโรงคัดบรรจุที่ ได้รับการรับรองจากบริษัท China Certification and Inspection Group หรือ CCIC (中国检验认证(集团)有限公司) แล้ว 13 แห่ง โดยกระทรวงเกษตรกัมพูชากำลังเร่ งเจรจาให้สวนกล้วยหอมและโรงคั ดบรรจุกัมพูชาได้รับบัตรผ่ านประตูเข้าตลาดจีนเพิ่มมากขึ้น พร้อมกับการส่งเสริมให้ เกษตรกรปลูกกล้วยหอมเพิ่มขึ้น -
บริษัท Longmate Agriculture เป็นบริษัทร่วมทุนจีน-กัมพูชา และเป็นผู้เล่นรายใหญ่ในธุรกิ
จกล้วยหอมในกัมพูชา บริษัทฯ มีฐานการผลิตกล้วยหอมอยู่ในจั งหวัดกำปอดของกัมพูชา เพื่อป้อนตลาดจีนเป็นหลัก (นครเซี่ยงไฮ้ กรุงปักกิ่ง เมืองต้าเหลียน และเมืองเซินเจิ้น) โดยบริษัทฯ ตั้งเป้าจะขยายพื้นที่ปลูกให้ ได้ 1 หมื่นเฮกตาร์ และส่งออกกล้วยหอมไปจีน 3.3 หมื่นตัน -
แม้ว่าฟิลิปปินส์จะยังเป็นเจ้
าครองตลาดกล้วยหอมนำเข้าในจีน แต่หลายฝ่ายคาดว่ากัมพูชาจะเริ่ มเข้ามามีบทบาทในตลาดจีนในไม่ช้ า ช่วงเวลาสั้นๆ เพียง 7 เดือนที่กัมพูชาส่งกล้วยหอมล็ อตแรกเข้าจีน กัมพูชาก็โดดขึ้นมาเป็นผู้ส่ งออกกล้วยหอมอันดับ 7 แซงหน้าประเทศไทยเป็นที่เรียบร้ อย (เปรียบเทียบ (YoY) กับปี 2561 ปริมาณการส่งออกกล้ วยหอมของไทยตกลงจากอันดับ 5 ไปอยู่อันดับ 8 ส่งผลให้ส่วนแบ่ งทางการตลาดลดลงจาก 1.51% เหลือเพียง 0.75%) -
นายเฉิน ฉีเซิง ผู้จัดการใหญ่บริษัท CCIC กัมพูชา เปิดเผยว่า ในอนาคต กัมพูชาจะมีกล้วยหอมส่งออกวันละ 10 ตู้ และจะเพิ่มเป็นวันละ 20-30 ตู้ในเร็วๆ นี้ โดยท่าเรือสีหนุเป็นทางเลื
อกสำหรับผู้ส่งออกกล้วยหอมกัมพู ชาที่ใช้สำหรับส่งออกไปยังจีน
[su_spacer]
ตามรายงาน ทางการจีนได้ส่งผู้เชี่
[su_spacer]
บีไอซี เห็นว่า สถานการณ์ข้างต้นน่าจะเป็นอีกสั
[su_spacer]
ผู้ส่งออกสามารถใช้ประโยชน์
[su_spacer]
นอกจากนี้ ผู้ประกอบการไทยจะต้องเร่งสร้
[su_spacer]
ที่มา
[su_spacer]