Monday, May 26, 2025
  • Login
  • Register
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
Glob Thailand
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
No Result
View All Result
Home ทันโลก

ส่องเศรษฐกิจเกาหลีเหนือภายใต้รัฐบาล คิม จอง อึน

18/09/2018
in ทันโลก, เอเชีย, ไม่มีหมวดหมู่
0
ส่องเศรษฐกิจเกาหลีเหนือภายใต้รัฐบาล คิม จอง อึน
1
SHARES
2.7k
VIEWS
Share on FacebookShare on TwitterShare on Line
           เมื่อวันที่ 5 ก.ย. 2561 สถาบันเกาหลีศึกษา (The Academy of Korean Studies) ได้จัดการบรรยายพิเศษในหัวข้อ“ Making Money Out of State: The Pseudo-State Enterprises in NorthKorean Economy” โดยมีนาย Andrei Lankov อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัย Kookmin ชาวรัสเซีย เป็นผู้บรรยาย ที่ Korea Press Center กรุงโซล โดยมีเนื้อหาที่น่าสนใจ ดังนี้ [su_spacer size=”20″]
           ระบบเศรษฐกิจของเกาหลีเหนือเป็นแบบสังคมนิยม ซึ่งรัฐเข้าไปควบคุมการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจทรัพย์สินทุกอย่างในประเทศเป็นของรัฐ ทรัพย์สินส่วนบุคคล/วิสาหกิจเอกชนเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมายและการจัดสรรทรัพยากรใช้ระบบปันส่วน (ration) ทั้งนี้ เศรษฐกิจเกาหลีเหนือในช่วงทศวรรษที่1950 – 1990 คงอยู่ได้ด้วยความช่วยเหลือทางการเงินจากประเทศร่วมอุดมการณ์
อาทิ สหภาพโซเวียต และจีน โดยในช่วงทศวรรษต่อมาได้เกิดหน่วยทางธุรกิจที่ผู้บรรยายเรียกว่า“วิสาหกิจกึ่งรัฐกึ่งเอกชน” (Pseudo-State Enterprise: PSE) ขึ้นในเกาหลีเหนือ [su_spacer size=”20″]
           การจดทะเบียนกิจการเป็น PSE ส่งผลให้ผู้ประกอบการสามารถดําเนินกิจการ/เปิดร้านค้าได้โดยอิสระโดยมีหน่วยงานภาครัฐให้ความคุ้มกันทางกฎหมาย อย่างไรก็ดีผู้ประกอบการจําเป็นต้องนําส่งรายได้ส่วนหนึ่งให้กับรัฐบาลเกาหลีเหนือเป็นประจําทุกเดือน
เพื่อแลกกับความคุ้มกันดังกล่าว รวมถึงต้องจ่ายสินบนให้กับข้าราชการท้องถิ่นที่มีอํานาจควบคุมดูแล PSE และสามารถสั่งปิดกิจการหรือจับกุมผู้ประกอบการด้วยทั้งนี้ จํานวนเงินรายได้ที่ผู้ประกอบการ PSE ต้องนําส่งให้รัฐบาลเกาหลีเหนือจะถูกกําหนดไว้เป็นอัตราคงที่ไม่คิดตามสัดส่วนของรายรับที่แท้จริงของผู้ประกอบการ เพื่อป้องกันปัญหาผู้ประกอบการแจ้งตัวเลขรายรับต่ำกว่าความเป็นจริง [su_spacer size=”20″]
           PSE ในเกาหลีเหนือแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) บริษัทการค้าต่างประเทศ (Foreign Trade Company: FTC) ซึ่งหน่วยงานของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจของเกาหลีเหนือ ก่อตั้งขึ้นเพื่อทําการค้ากับต่างประเทศ (2) วิสาหกิจเอกชนที่จดทะเบียนเป็นกิจการของรัฐและ (3) ฝ่ายผลิตย่อยของรัฐวิสาหกิจเกาหลีเหนือซึ่งทําหน้าที่ผลิตอาหารและสินค้าอุปโภคพื้นฐานเพื่อป้อนให้กับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจของเกาหลีเหนือ ทั้งนี้ ประเภทของ PSE ที่แพร่หลายมากที่สุดในเกาหลีเหนือคือร้านอาหาร [su_spacer size=”20″]
           การก้าวขึ้นสู่อํานาจของคิมจองอึนในปี ค.ศ. 2011 ส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจแบบตลาดและผู้ประกอบการ PSE โดยคิมจองอึนถือเป็นผู้นําเกาหลีเหนือที่มีนโยบายเปิดกว้างและเป็นมิตรต่อระบบเศรษฐกิจแบบตลาดมากที่สุดในรอบ 80 ปี ภายหลังจากก้าวขึ้นสู่อํานาจ คิมจองอึนได้เริ่มนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจและสนับสนุนความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างหน่วยงาน รัฐบาลกับธุรกิจเอกชนมากขึ้น [su_spacer size=”20″]
           ในปี ค.ศ. 2015 รัฐบาลเกาหลีเหนือได้ออกกฎหมายวิสาหกิจสังคมนิยม (Socialist Enterprise Law) ระบุว่ารัฐวิสาหกิจเกาหลีเหนือสามารถรับเอา/ใช้เงินทุนของภาคเอกชนเพื่อนํามาปรับปรุงหรือพัฒนาองค์กรได้ซึ่งทําให้สถานะของ PSE ได้รับการยอมรับมากขึ้น อย่างไรก็ดีผู้บรรยายประเมินว่ารัฐบาล เกาหลีเหนือจะยังไม่ให้การรับรองระบบกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลในระยะเวลาอันใกล้
เนื่องจากการกระทําดังกล่าวถือเป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงอุดมการณ์ที่รวดเร็วเกินไปซึ่งอาจนํามาซึ่งความวุ่นวาย/การไร้เสถียรภาพในทางการเมืองและรัฐบาลเกาหลีเหนือสามารถควบคุม PSE ได้ง่ายกว่าภายใต้ระบบปัจจุบัน [su_spacer size=”20″]
           ปัจจุบันเศรษฐกิจเกาหลีเหนือภายใต้การปกครองของคิมจองอึนเติบโตอย่างก้าวกระโดดโดยรายได้เฉลี่ยของประชาชนเกาหลีเหนือเพิ่มขึ้นจากเดือนละ 30 ดอลลาร์สหรัฐต่อครอบครัวในสมัยคิมจองอิลเป็นเดือนละ 100 ดอลลาร์สหรัฐต่อครอบครัว เกาหลีเหนือเข้าใกล้การเป็นประเทศที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านการผลิตอาหาร(food self-sufficiency) ประชาชนเกาหลีเหนือไม่ได้ตกอยู่ในภาวะอดอยาก/แร้นแค้นอย่างที่สื่อตะวันตกหรือคนส่วนใหญ่เข้าใจ [su_spacer size=”20″]
            ทั้งนี้อุปสรรคสําคัญของเศรษฐกิจเกาหลีเหนือได้แก่ การขาดการลงทุนจากต่างประเทศอันเป็นผลสืบเนื่องจากมาตรการลงโทษของประชาคมระหว่างประเทศ ดังนั้นเป้าหมายทางการเมืองที่ผู้นําเกาหลีเหนือต้องการบรรลุมากที่สุดในขณะนี้จึงได้แก่การโน้มน้าวให้ประชาคมระหว่างประเทศผ่อนปรนหรือยกเลิกมาตรการลงโทษดังกล่าว [su_spacer size=”20″]
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโซล
Previous Post

ฮ่องกงออกนโยบายดึงดูดผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 11 สาขา

Next Post

อียูเตรียมกำหนดเป้าหมายการลด CO2 ในรถผลิตใหม่

mackeyrisen

mackeyrisen

Next Post
อียูเตรียมกำหนดเป้าหมายการลด CO2 ในรถผลิตใหม่

อียูเตรียมกำหนดเป้าหมายการลด CO2 ในรถผลิตใหม่

Post Views: 4,686

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

กว่างซีจ้วงเร่งเครื่องเศรษฐกิจสีน้ำเงิน โอกาสใหม่ของไทยในยุทธศาสตร์ทะเลจีน

กว่างซีจ้วงเร่งเครื่องเศรษฐกิจสีน้ำเงิน โอกาสใหม่ของไทยในยุทธศาสตร์ทะเลจีน

23/05/2025
เขต YRD ทะยานสู่ผู้นำโลกหุ่นยนต์เสมือนมนุษย์ และโอกาสความร่วมมือกับไทย ตอนที่ 3

เขต YRD ทะยานสู่ผู้นำโลกหุ่นยนต์เสมือนมนุษย์ และโอกาสความร่วมมือกับไทย ตอนที่ 3

22/05/2025
เจาะตัวเลขการค้าหูหนาน ไตรมาสแรก 2568

เจาะตัวเลขการค้าหูหนาน ไตรมาสแรก 2568

22/05/2025
ทิศทางความเคลื่อนไหวด้านพลังงานนิวเคลียร์ของไต้หวัน

ทิศทางความเคลื่อนไหวด้านพลังงานนิวเคลียร์ของไต้หวัน

22/05/2025
“โปรตีนทางเลือก” โอกาสสำหรับธุรกิจอาหารเพื่อความยั่งยืนในสิงคโปร์

“โปรตีนทางเลือก” โอกาสสำหรับธุรกิจอาหารเพื่อความยั่งยืนในสิงคโปร์

22/05/2025
สรุปข่าวเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาเดิน-เวือรืทเทิมแบร์ค

สรุปข่าวเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาเดิน-เวือรืทเทิมแบร์ค

22/05/2025

FOLLOW US

ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ
443 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร 10400

OFFICE HOURS

วันทำการ : จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.
(ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
TEL : 02-203-5000 ต่อ 14239 – 14245
EMAIL : IN**@**********ND.COM

FOLLOW US

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

No Result
View All Result
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
X
X