คมนาคม I โลจิสติกส์

โครงการท่าเรือน้ำลึก Vadhavan ศูนย์กลางโลจิสติกส์ใหม่ของอินเดีย

โครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึก Vadhavan ดำเนินการโดย Vadhavan Port Project Limited (VPPL) ซึ่งเป็นการร่วมลงทุนในลักษณะ Public Private Partnership (PPP) ระหว่าง Jawaharlal Nehru Port Authority (JNPA) (ร้อยละ...

Read more

“ด่านซั่วหลง” ด่านสากลทางบกแห่งใหม่ของ”กว่างซี” มุ่งกระชับความร่วมมือกับอาเซียน

ตามที่รัฐบาลกลางของจีนได้ไฟเขียวในการเปิด “ด่านซั่วหลง” และ “และช่องทางขนส่งสินค้าเหยียนอิ้ง” ในเมืองฉงจั่ว เขตฯ กว่างซีจ้วง เป็นด่านสากลทางบกแห่งที่ 6 ซึ่งการเปิดด่านนี้จะช่วยส่งเสริมการค้าการลงทุน และการไปมาสู่มหาภาคประชาชนระหว่างจีนกับอาเซียน อีกทั้งเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาทางโดยเฉพาะการค้าสินค้าเพื่อป้อนอุตสาหกรรมในพื้นที่ อาทิ สินแร่ลิเทียมเพื่อการผลิตแบตเตอรี่ลิเทียมแมงกานีสและผลิตภัทฑ์การสื่อสารด้วยใยแก้วนำแสงอย่างเช่นอุปกรณ์แยกแสงไฟเบอร์ออปติก โดยด่านแห่งนี้ห่างจากนครหนาหนิง 230 กม. หรือเดินทางด้วยรถยนต์ราว 2 ชม....

Read more

เส้นทางเดินเรือใหม่ ‘ท่าเรือแม่น้ำชื่อสุ่ย – ท่าเรือกรุงเทพ’ ประตูบานใหม่สำหรับผู้ค้าไทยสู่จีนตอนใน

เส้นทางเดินเรือใหม่ จาก ท่าเรือแม่น้ำชื่อสุ่ย เมืองอู๋โจว สู่ ท่าเรือกรุงเทพ เส้นทางขนส่งใหม่ที่จะช่วยลดต้นทุนโลจิสติกส์ลงได้ถึงร้อยละ 10 อีกทั้งยังเป็นการเปิดประตูบานใหม่ให้กับผู้ค้ากว่างซี ในการทำการค้ากับประเทศในอาเซียน โดยมีการเปิดให้บริการแบบเที่ยวประจำ ที่มีบริษัท Guangxi Xijiang Chishui Port Co., Ltd. อันเป็นบริษัทลูกของ Guangxi...

Read more

เกาหลีใต้ เดินหน้า Urban Air Mobility เพิ่มทางเลือกการสัญจร-โลจิสติกส์ในอนาคต

ตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา กระทรวงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน และการคมนาคมของเกาหลีใต้ได้ริเริ่มโครงการเคลื่อนย้ายทางอากาศในเมือง (the Korea Urban Air Mobility: K-UAM) เพื่อเป็นหนึ่งในแนวทางแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดและมลภาวะทางอากาศ รวมถึงเป็นทางเลือกในการสัญจรและขนส่งสินค้าของคนเกาหลีใต้ในอนาคต โดยอากาศยาน UAM เป็นอากาศยานขนาดเล็ก ซึ่งขับเคลื่อนด้วยพลังงานจากไฟฟ้า (ไม่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์) มีเสียงรบกวนต่ำ...

Read more

จังหวัดฮึงเอียนสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ 

จังหวัดฮึงเอียนมีโครงการลงทุนจากต่างประเทศสะสม 588 โครงการ มีทุนจดทะเบียนรวมกว่า 7,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (สถานะ ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2567)  ปัจจุบัน ญี่ปุ่นเป็นนักลงทุนต่างชาติที่ลงทุนในจังหวัดฯ มากที่สุด โดยมีจำนวน 147 โครงการและทุนจดทะเบียนรวมกว่า 3,600 ล้านดอลลาร์สหรัฐ...

Read more

ภาพรวมการคมนาคมของอินโดนีเซีย 

อินโดนีเซียใช้เส้นทางคมนาคมทางถนนเป็นหลักในการสัญจร โดยส่วนใหญ่จะมีศูนย์รวมอยู่ที่เกาะชวา ซึ่งเป็นเกาะเศรษฐกิจหลักของประเทศและมีประชากรจำนวนมากที่สุด โดยเกาะชวาและเกาะสุมาตรามีเส้นทางรถไฟครอบคลุมในพื้นที่ต่าง ๆ แต่ไม่เชื่อมถึงกัน รวมถึง urban commuter line ในเมืองสำคัญ อาทิ จาการ์ตา เมดาน ส่วนการคมนาคมทางน้ำก็เป็นเส้นทางสำคัญทั้งในแง่การสัญจรและการขนส่งสินค้า โดยเฉพาะการสัญจรในเกาะที่ยังไม่พัฒนาเทียบเท่าชวา  ส่วนการบินเป็นการคมนาคมที่สะดวกที่สุดแต่มีราคาสูงกว่าการเดินทางประเภทอื่น ๆ ซึ่งในปัจจุบันเศรษฐกิจอินโดนีเซียขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ประชากรมีรายได้เพิ่มขึ้น...

Read more

กัมพูชา เปิดท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ – อังกอร์ ดึงนักท่องเที่ยวเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวสำคัญ 

ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ – อังกอร์ (Siem Reap - Angkor International Airport) เป็นสนามบินแห่งใหม่และใหญ่ที่สุดของกัมพูชา ตั้งอยู่บนที่ดิน 700 เฮกตาร์ (7 ตารางกิโลเมตร) ห่างออกไปทางตะวันออกของนครวัดประมาณ 40 กิโลเมตร มีรันเวย์ยาว 3,600...

Read more

Update! ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ของเวียดนาม

ในปี 2566 เป็นห้วงเวลาความผันผวนของตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์เวียดนาม โดยมีปัจจัยจาก สถานการณ์ความผันผวนทางการเงินและความรุนแรงในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ จากรายงานของ Vietnam Automobile Manufacturers Association (VAMA) พบว่า ในปี 2566 ยอดขายรถยนต์ในเวียดนามมีจำนวน 301,989 คัน ลดลงกว่าร้อยละ 25.4 เมื่อเทียบกับปี...

Read more

Update ! แผนการใช้ Air Taxi ในนครลอสแอนเจลิสในปี 2569 

จากบทความก่อนหน้านี้ (สามารถอ่านได้ที่ https://globthailand.com/usa-1382024/ )  Globthailand ได้กล่าวถึงสถานการณ์การใช้เทคโนโลยี Air Taxi ในนครลอสแอนเจลิส และพัฒนาเทคโนโลยี Air Taxi ของบริษัท Joby Aviation และ  บริษัท Archer Aviation Taxi...

Read more

สิงคโปร์กับการพัฒนาขีดความสามารถเพื่อก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางพาณิชย์นาวี

อุตสาหกรรมพาณิชย์นาวีเป็นหัวใจสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ โดยสินค้ามากกว่าร้อยละ 80 ของโลกถูกขนส่งทางทะเล สิงคโปร์จึงมีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางระดับโลกในการพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถด้านพาณิชย์นาวี โดยใช้ประโยชน์จากความร่วมมือ 3 ฝ่าย ระหว่างรัฐบาล ภาคอุตสาหกรรม และสหภาพแรงงาน โดยเน้น (1) การเสริมทักษะและพัฒนาความสามารถของพนักงานอย่างต่อเนื่องตลอดอายุ (upskill and reskill) เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดแรงงานที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (2) การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล...

Read more
Page 1 of 8 1 2 8
0

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

FOLLOW US

Welcome Back!

Login to your account below

Create New Account!

Fill the forms below to register

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.