เมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2561 คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปได้เห็นช
- ผู้ขายไม่สามารถปฏิเสธการขายได้ หาก (1) เป็นการขายสินค้าที่จัดส่งภายใน
ประเทศสมาชิกอียูที่ผู้ขายเสนอบ ริการจัดส่ง หรือผู้ซื้อสามารถรับสินค้าเองจ ากจุดที่ตกลงร่วมกัน (2) เป็นการเสนอขายสินค้าประเภทการใ ห้บริการด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น บริการจัดเก็บข้อมูลผ่านอินเตอร์ เน็ต หรือบริการเช่าพื้นที่เว็บไซต์ และ (3) เป็นการให้บริการที่ประเทศผู้ให้ บริการดำเนินการอยู่ อาทิ การจองห้องพักผ่านบริษัท e- commerce ทั้งนี้ การห้ามการเลือกปฏิบัติดังกล่าว ยังครอบคลุมถึงเงื่อนไขการจ่ายเ งิน - การห้ามปฏิเสธการค้าขายดังกล่าว (ตามนัยข้อ 1) มิได้ห้ามการกำหนดราคาที่แตกต่า
งในแต่ละพื้นที่ และผู้ขายไม่จำเป็นต้องจัดส่งสิ นค้าในประเทศที่ผู้ขายมิได้เสนอ บริการจัดส่ง (ผู้ซื้อในประเทศที่ไม่มีบริการ จัดส่งสามารถซื้อได้ แต่ต้องรับสินค้าในประเทศที่มีบ ริการจัดส่ง) - การขายหรือให้บริการสื่อที่ได้รั
บการคุ้มครองลิขสิทธิ์ เช่น เพลง e-books และซอฟท์แวร์ ได้รับการยกเว้นจากกฎระเบียบฉบั บนี้ แต่คณะกรรมาธิการยุโรป จะพิจารณาทบทวนในอีก 2 ปี หลังกฎระเบียบฯ มีผลบังคับใช้ ส่วนบริการอื่น ๆ เช่น บริการทางการเงิน บริการคมนาคม และบริการสาธารณสุข ไม่อยู่ในความคุ้มครองของกฎระเบี ยบดังกล่าว[su_spacer size=”20″] เป็นที่น่าสังเกตว่า กฎระเบียบดังกล่าวอาจจะส่งผลกระ ทบต่อผู้ประกอบการ e-commerce ที่สนใจให้บริการในอียู รวมถึงผู้ประกอบการไทยที่อาจสนใ จใช้ e-commerce เป็นช่ องทางเจาะตลาดอียู โดยเฉพาะสินค้าในตลาดเฉพาะ (niche market)เช่น แมลง หรือสินค้าเพื่อสุขภาพต่าง ๆ เนื่องจากจะไม่สามารถจำกัดการให้ บริการเฉพาะในประเทศสมาชิกบางปร ะเทศตามความสามารถหรือเครือข่ ายที่จำกัดได้[su_spacer size=”20″]
ผู้ที่สนใจตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถศึกษารายละเอียดของกฎระเบี
[su_spacer size=”20″]
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลล์