Tuesday, May 20, 2025
  • Login
  • Register
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
Glob Thailand
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
No Result
View All Result
Home ทันโลก

การเติบโตและความเรืองรองของอาเซียนหลังจากวิกฤติโควิด-19

11/05/2022
in ทันโลก, เทคโนโลยี I นวัตกรรม, เอเชีย
0
การเติบโตและความเรืองรองของอาเซียนหลังจากวิกฤติโควิด-19
5
SHARES
840
VIEWS
Share on FacebookShare on TwitterShare on Line

แม้ภูมิภาคอาเซียนจะได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 จนทำให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ลดลง แต่ยังคงมีศักยภาพดึงดูดการลงทุน โดยสัดส่วนของ FDI ทั่วโลกในอาเซียนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.9 ในปี 2562 เป็นร้อยละ 13.7 ในปี 2563 ขณะที่ FDI ภายในอาเซียนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12 เป็นร้อยละ 17 นอกจากนี้ มูลค่าการกู้ยืมเงินสำหรับโครงการต่าง ๆ ในอาเซียนเพิ่มขึ้นหนึ่งเท่าตัว
จาก 3.7 หมื่นล้านในปี 2558-2560 เป็น 7.4 หมื่นล้านในปี 2561-2563 อาเซียนจึงมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่องและน่าจะมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลกภายในปี 2573 ขยับขึ้นจากอันดับที่ห้า

ปัจจัยที่ทำให้อาเซียนเติบโตและพัฒนาอย่างครอบคลุม ได้แก่

(1) การร่วมมือของประเทศอาเซียนเพื่อรับมือผลกระทบของโควิด-19 ซึ่งเพิ่มความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทานในภูมิภาคและการไหลเวียนของสินค้าจำเป็น รวมทั้งข้อริเริ่มที่เป็นประโยชน์ต่อการฟื้นฟูและสร้างเสริมความยืดหยุ่น

(2) ความตกลง RCEP ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อ 1 ม.ค. 2565 ซึ่งสนับสนุนการค้า การลงทุน และการบริการเสรีระหว่างประเทศภาคีความตกลง ส่งเสริม FDI ที่ยั่งยืนในภูมิภาค รวมทั้งการพัฒนา e-commerce ซึ่งมีความสำคัญต่อห่วงโซ่มูลค่าและตลาดในภูมิภาค

(3) ข้อริเริ่มที่ส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลของอาเซียน โดยอาเซียนได้ริเริ่มการส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล เช่น Consolidated Strategy on the Fourth Industrial Revolution (4IR) และ ASEAN Digital Integration Framework เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล 
การลงทุนโดยภาคเอกชนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัล (โครงข่าย 5G และศูนย์ข้อมูล) ระบบ cloud computing ความมั่นคง
ทางไซเบอร์ ปัญญาประดิษฐ์ การผลิตอัจฉริยะ และการเชื่อมโยงทางดิจิทัล

นอกจากนี้ ยังมีความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยืดหยุ่น และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาระบบนิเวศน์ที่เกื้อกูลต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลและนวัตกรรม โดยรัฐบาลสร้างแรงจูงใจการลงทุนใน R&D ในขณะที่ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนด้วยการลงทุนในระบบดิจิทัลสำหรับการผลิต การใช้ระบบการผลิตที่ก้าวหน้า การสร้างโรงงานอัจฉริยะ การจัดตั้งระบบวิจัยและพัฒนา ศูนย์เทคโนโลยี และศูนย์ความเป็นเลิศในภูมิภาค

ทั้งนี้ การก้าวสู่อุตสาหกรรม 4.0 จำเป็นต้องคำนึงถึงความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ไม่สามารถแยกออกจากการเติบโตทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน โดยอาเซียนได้แสดงความมุ่งมั่นต่อความพยายามแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน ส่วนทางภาคเอกชนยังต้องให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนการลงทุนผ่านเทคโนโลยีสีเขียวเพื่อให้อาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้

จะเห็นได้ว่าอาเซียนมีศักยภาพที่จะมุ่งหน้าไปสู่ทิศทางที่ดีในอนาคตภายหลังการระบาดของโรคโควิด-19 ทั้งการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลและการใช้เทคโนโลยีสีเขียวเพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG ของไทย ผู้ประกอบการไทยจึงควรคำนึงถึงการมุ่งเน้นการนำเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาธุรกิจและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน เพื่อนำไปสู่การเติบโตและความรุ่งเรืองของภูมิภาคที่ยั่งยืนไปพร้อมกัน 

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ทาง https://www.weforum.org/agenda/2022/01/asean-is-poised-for-post-pandemic-inclusive-growth-and-prosperity-heres-why

ข้อมูล : คณะผู้แทนถาวรไทยประจำอาเซียน ณ กรุงจาการ์ตา

เรียบเรียง : ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์
Tags: อาเซียน
Previous Post

การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาภาคธุรกิจในเยอรมนี

Next Post

โอกาสใหม่ในต่างแดน ลู่ทางการขยายตลาดสินค้าเครื่องสำอางไทยในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก

Tanakorn

Tanakorn

Glob Thailand Administrator

Next Post
โอกาสใหม่ในต่างแดน ลู่ทางการขยายตลาดสินค้าเครื่องสำอางไทยในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก

โอกาสใหม่ในต่างแดน ลู่ทางการขยายตลาดสินค้าเครื่องสำอางไทยในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก

Post Views: 1,940

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

จีนเปิดทางนำเข้าสุกรพันธุ์จากเดนมาร์ก กว่างซีชูสนามบินกุ้ยหลินเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ปศุสัตว์

จีนเปิดทางนำเข้าสุกรพันธุ์จากเดนมาร์ก กว่างซีชูสนามบินกุ้ยหลินเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ปศุสัตว์

19/05/2025
ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

ตอนที่ 2 : ปัจจัยความสำเร็จของ YRD ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ 

15/05/2025
ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

15/05/2025
สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

14/05/2025
Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

14/05/2025
ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

14/05/2025

FOLLOW US

ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ
443 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร 10400

OFFICE HOURS

วันทำการ : จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.
(ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
TEL : 02-203-5000 ต่อ 14239 – 14245
EMAIL : IN**@**********ND.COM

FOLLOW US

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

No Result
View All Result
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
X
X