Thursday, May 15, 2025
  • Login
  • Register
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
Glob Thailand
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
No Result
View All Result
Home ทันโลก

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

14/05/2025
in ทันโลก
0
สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 
0
SHARES
6
VIEWS
Share on FacebookShare on TwitterShare on Line

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567

เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจานมีการเติบโตมากยิ่งขึ้น โดยตัวเลข GDP โตขึ้นประมาณร้อยละ 4.1 มีมูลค่า GDP ต่อหัวที่ 7,283.80 ดอลลาร์สหรัฐ (เพิ่มจากปีที่ผ่านมา 150.80 ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่ไทยอยู่ที่ประมาณ 7,900 ดอลลาร์สหรัฐ) 

ในส่วนการค้าระหว่างประเทศ ภาคพลังงาน อาเซอร์ไบจานได้ดุลที่ประมาณ 5,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาคที่ไม่ใช่พลังงาน มูลค่าการค้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยข้อมูลจากคณะกรรมการสถิติอาเซอร์ไบจานระบุว่า ประเทศ 3 อันดับแรกที่มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศกับอาเซอร์ไบจานมากที่สุด คือ (1) อิตาลี (นําเข้าพลังงานจากอาเซอร์ไบจานร้อยละ 40 ของมูลค่าส่งออกพลังงานทั้งหมด) (2) ตุรกี และ (3) รัสเซีย (ร้อยละ 13 ร้อยละ 10.2 และร้อยละ 7.9 ของปริมาณการค้าระหว่างประเทศทั้งหมดตามลําดับ โดยคู่ค้าอันดับที่ 4 คือ จีน (ร้อยละ 3.5) ส่วนไทยเป็นคู่ค้าอันดับที่ 16 (ร้อยละ 0.8) นอกจากนี้ คู่ค้าหลักอื่น ๆ ที่สําคัญของอาเซอร์ไบจาน ได้แก่ อิสราเอล อินเดีย กรีซ เติร์กเมนิสถาน และเยอรมนี สําหรับการค้าสินค้าอื่นที่ไม่ใช่พลังงาน อาเซอร์ไบจานยังคงพึ่งพามูลค่าส่งออกไปยังรัสเซียและตุรกี ทั้งนี้ อาเซอร์ไบจานนําเข้าสินค้าจากจีนเป็นอันดับที่ 1 (ร้อยละ 17.6) 

สําหรับสินค้าที่อาเซอร์ไบจานนําเข้ามากขึ้นในปี 2567 คือ ผลไม้สด (ร้อยละ 23.6) ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก (ร้อยละ 39.6) ผักสด (ร้อยละ 58.4) เครื่องปรับอากาศ (ร้อยละ 44.1) ในส่วนของสินค้าส่งออกสําคัญที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น เช่น น้ําตาล (ร้อยละ 62.3) องุ่นและไวน์องุ่น (ร้อยละ 41.9) ใยฝ้าย (ร้อยละ 81.7) ปุ๋ยแร่ (ร้อยละ 68.6) และพลังงานไฟฟ้า (ร้อยละ 55.5) 

จากข้างต้น แม้ว่าปริมาณการค้าของอาเซอร์ไบจานนั้น สะท้อนให้เห็นถึงการพึ่งพาพลังงานเป็นสินค้าส่งออกสําคัญ อย่างไรก็ดี อาเซอร์ไบจานมุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานทดแทน โดยการประกาศนโยบาย Green Agenda เช่น การเปิดสถานีพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งจะสร้างให้แล้วเสร็จทั่วประเทศภายในปี 2616 (ค.ศ. 2073) และวางแผนสร้างสายเคเบิลเพื่อส่งพลังงานสะอาดไปยังสหภาพยุโรป (EU) ผ่านโครงการ Black Sea – Caspian energy cable 

ทั้งนี้ ประธานาธิบดี อิลฮัมฯ ยังได้กล่าวในที่ประชุม COP-29 ว่า อาเซอร์ไบจานสามารถพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เติบโตยิ่งขึ้น รวมถึงสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนได้ สะท้อนให้เห็นจากสัดส่วนประชาชนที่ยากจนลดลงเหลือร้อยละ 5.2 และอัตราการว่างงานต่ํา เพียงร้อยละ 5.4 เท่านั้น

แนวโน้มเศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2568  

แม้ว่าอาเซอร์ไบจานจะพยายามเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้พลังงานทดแทน แต่จากสถานการณ์สู้รบระหว่างรัสเซีย – ยูเครน ที่ประเทศใน EU ลดการพึ่งพาพลังงานจากรัสเซีย ส่งผลให้อาเซอร์ไบจานกลายเป็นผู้ส่งออกพลังงาน (ก๊าซธรรมชาติและน้ํามัน) รายสําคัญของ EU ทําให้เศรษฐกิจของอาเซอร์ไบจานยังคงเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยยังคงต้องพึ่งพาก๊าซธรรมชาติและน้ํามันต่อไป

ข้อมูล: สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอังการา

เรียบเรียงโดย: ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์

Tags: #globthailandslideshow
Previous Post

Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

Globthailand

Globthailand

Post Views: 86

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

14/05/2025
Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

14/05/2025
ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

14/05/2025
เกาหลีใต้รับมือภาษีตอบโต้สหรัฐฯ มาตรการเร่งด่วนและยุทธศาสตร์พยุงเศรษฐกิจ

เกาหลีใต้รับมือภาษีตอบโต้สหรัฐฯ มาตรการเร่งด่วนและยุทธศาสตร์พยุงเศรษฐกิจ

10/05/2025
ตอนที่ 1 : การพัฒนาอุตสาหกรรม Humannoid robot ในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (YRD) 

ตอนที่ 1 : การพัฒนาอุตสาหกรรม Humannoid robot ในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี (YRD) 

10/05/2025
รัฐไบเอิร์นขยายความร่วมมืออินเดีย ดันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ-การค้า

รัฐไบเอิร์นขยายความร่วมมืออินเดีย ดันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ-การค้า

07/05/2025

FOLLOW US

ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ
443 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร 10400

OFFICE HOURS

วันทำการ : จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.
(ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
TEL : 02-203-5000 ต่อ 14239 – 14245
EMAIL : IN**@**********ND.COM

FOLLOW US

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

No Result
View All Result
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
X
X