Wednesday, May 21, 2025
  • Login
  • Register
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
Glob Thailand
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
No Result
View All Result
Home ทันโลก

สถิติส่งออกผลไม้ไทยไปจีนปี 2560 ลำไยอบแห้งโตกว่า 90%

12/11/2018
in ทันโลก, เอเชีย
0
1
SHARES
318
VIEWS
Share on FacebookShare on TwitterShare on Line

              ภาพรวมการส่งออกผลไม้ไทยจากสถิติกรมศุลกากรไทยปี 2560 พบว่า ไทยส่งออกผลไม้และลูกนัตเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.18 โดยตลาดส่งออกที่สําคัญของไทย คือ เวียดนาม (ร้อยละ 50.97) จีน (ร้อยละ 27.17) และฮ่องกง (ร้อยละ 6.55) ซึ่งเวียดนามเป็นตลาดส่งออกรายใหญ่ของไทยเป็นปีที่สอง ผลไม้ไทยส่งออกที่สําคัญ ได้แก่ ทุเรียน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 21.37 ลําไย เพิ่มขึ้นร้อยละ 74.68 ลําไยอบแห้ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 7048 มังคุด เพิ่มขึ้นร้อยละ43.83 และมะพร้าวสด เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.07  ซึ่งส่วนใหญ่ส่งออกไปเวียดนาม ยกเว้นมะพร้าวสดที่ส่งออกไปจีน [su_spacer size=”20″]

             ในส่วนของการนําเข้าผลไม้ไทยของจีนนั้น จีนอนุญาตให้นําเข้าผลไม้ไทยได้ 22 ชนิด ได้แก่ มะขาม น้อยหน่า มะละกอ มะเฟือง ฝรั่ง เงาะ ชมพู่ ขนุน ลองกอง สับปะรด ละมุด กล้วย เสาวรส มะพร้าว ลําไย ทุเรียน มะม่วง ลิ้นจี่ มังคุด ส้ม ส้มเช้ง และส้มโอ (รองจากเขตเศรษฐกิจไต้หวันที่ได้รับอนุญาต 25 ชนิด) จากสถิติสํานักงานศุลกากรจีน ปี 2560 พบว่าจีนนําเข้าผลไม้ไทย (เฉพาะด่านสากล)  647,964 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.6 ส่วนใหญ่เป็นมณฑลทางตอนใต้ ได้แก่ เซินเจิ้น (ร้อย ละ 57.12) คุนหมิง (ร้อยละ 14.35) และหนานหนิง (ร้อยละ 8.8) ตามลําดับ คิดเป็นสัดส่วนรวมกว่าร้อยละ 80.27 ผลไม้ไทยที่จีนนําเข้าปริมาณมากที่สุด ได้แก่ ทุเรียน ลดลงร้อยละ 23.32 ลําไย เพิ่มขึ้นร้อยละ 79.28 มะพร้าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 40.14 มังคุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.05 และลําไยอบแห้ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 89.65 โดยปริมาณและมูลค่าการนําเข้าลําไยและลําไยอบแห้ง มีแนวโน้มเติบโตสูงสุด ในส่วนของเส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีนส่วนใหญ่ใช้การขนส่งทางบก (ร้อยละ 75.96) โดยการนําเข้าผ่านศุลกากรเซินเจิ้นมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 7.03 ขณะที่แนวโน้มการนําเข้าผลไม้ผ่านเส้นทาง R9/R12 เข้าจีนที่ด่านโหย่วอี้กวานของกว่างซีเพิ่มขึ้นร้อยละ74.51 เช่นเดียวกับเส้นทาง R3A ที่มณฑลยูนนานที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.8 [su_spacer size=”20″]

             ปัจจุบัน กว่างซีเป็นมณฑลที่มีด่านที่ได้รับอนุญาตนําเข้าผลไม้จากต่างประเทศ (ด่านสากล) มากที่สุดในจีน รวม 7 แห่ง ภายใต้การกํากับดูแลของ สำนักงานศุลกากรหนานหนิง ได้แก่ ด่านทางบก 4 แห่ง (ด่านโหย่วอีกวาน ด่านตงซิง ด่านหลงปัง และด่านสุยโข่ว) ด่านท่าเรือ 2 แห่ง (ท่าเรือเมืองฝางเฉิงกาง และท่าเรือเขตสินค้าทัณฑ์เมืองชินโจว) และด่านอากาศยาน (ท่าอากาศยานนานาชาติเหลียงเจียง เมืองกุ้ยหลิน) ซึ่งส่วน ใหญ่ได้เปิดดําเนินการแล้ว ยกเว้นด่านหลงปังเมืองไปเซอและด่านสุยโข่ว เมืองฉงชั่ว ที่กําลังพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการตรวจกักกันโรค และรอตรวจรับงานจากส่วนกลาง นอกจากนี้ ยังมีด่านอีก 1 แห่งที่อยู่ระหว่างดําเนินการขออนุญาต เป็นด่านนําเข้าผลไม้ คือ “ด่านรถไฟผิงเสียง” ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับด่านโหย่วอี้กวาน ซึ่งเป็นด่านรถไฟเพียงแห่งเดียวของจีนที่เชื่อมตรงถึงเวียดนาม การนําเข้าผลไม้ไทยผ่านเข้าด่านสากลในกว่างซีมีแนวโน้มการขยายตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะที่“ด่านโหย่วอี้กวาน” (ตามพิธีสารฯ 29) เดิมตัวเลขการนําเข้าผลไม้ไทยผ่านด่านโหย่วอี้กวานเคยเป็น “ศูนย์” ระหว่างปี 2554-2557 ทั้งนี้ ด่านสากลในกํากับดูแลของศุลกากรหนานหนิงมีปริมาณการนําเข้าผลไม้มากเป็นอันดับ 3 ของจีน เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 87.27 (ร้อยละ 8.8 ของจีน) ขณะที่ศุลกากรเซินเจิ้นลดลงร้อยละ 5.8 (ร้อยละ 57.12 ของจีน) และ ศุลกากรคุนหมิง เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.83 (ร้อยละ 14.35 ของจีน) โดยผลไม้ไทยที่มีการนําเข้าผ่านด่านสากลในกว่างซีมากที่สุด ได้แก่ ทุเรียน (เป็นอันดับ 2 ของจีนที่ร้อยละ 15.52) เพิ่มขึ้นร้อยละ 341 เป็นการนําเข้าทางบกเพิ่มขึ้นร้อยละ323.14 และทางทะเลเพิ่มขึ้นร้อยละ 255.27 มังคุด (เป็นอันดับ 2 ของจีนที่ร้อยละ 27.58) ลดลงร้อยละ 12.75 เป็นการ นําเข้าทางบกลดลงร้อยละ1349 และลําไยสด ซึ่งเป็นการนําเข้าทางบกและทางทะเล [su_spacer size=”20″]

สถานกงสุลใหญ่ ณ นครหนานหนิง

Tags: ผลไม้
Previous Post

3 กลยุทธ์หนุนค้าปลีกยุค 4.0 และ 5 เคล็ดลับการตลาดแบบ O2O

Next Post

เวียดนามพร้อมเดินหน้าสู่สังคมไร้เงินสด e-Payment ปี 2560 โตแล้ว 22%

mackeyrisen

mackeyrisen

Next Post

เวียดนามพร้อมเดินหน้าสู่สังคมไร้เงินสด e-Payment ปี 2560 โตแล้ว 22%

Post Views: 1,331

NEW EVENT

Current Month

RECENTNEWS

จีนเปิดทางนำเข้าสุกรพันธุ์จากเดนมาร์ก กว่างซีชูสนามบินกุ้ยหลินเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ปศุสัตว์

จีนเปิดทางนำเข้าสุกรพันธุ์จากเดนมาร์ก กว่างซีชูสนามบินกุ้ยหลินเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ปศุสัตว์

19/05/2025
ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

ตอนที่ 2 : ปัจจัยความสำเร็จของ YRD ในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ 

15/05/2025
ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

ทรัมป์เตรียมเก็บภาษีหนังต่างประเทศ 100% แคนาดาวิตกกระทบแรงงานและเศรษฐกิจ

15/05/2025
สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

สถานการณ์เศรษฐกิจอาเซอร์ไบจาน ปี 2567 และแนวโน้ม ปี 2568 

14/05/2025
Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

Update! เศรษฐกิจสำคัญของรัฐไบเอิร์น เยอรมนี

14/05/2025
ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

ครบรอบ 60 ปี! แห่งการก่อตั้งสิงคโปร์ 

14/05/2025

FOLLOW US

ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
กระทรวงการต่างประเทศ
443 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี
กรุงเทพมหานคร 10400

OFFICE HOURS

วันทำการ : จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.
(ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
TEL : 02-203-5000 ต่อ 14239 – 14245
EMAIL : IN**@**********ND.COM

FOLLOW US

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

No Result
View All Result
  • Home
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทันโลก
    • เศรษฐกิจ I การเงิน
    • ธุรกิจ I การค้า I การลงทุน
    • การท่องเที่ยว I การบริการ
    • อาหาร I การเกษตร
    • คมนาคม I โลจิสติกส์
    • การแพทย์ I สุขภาพ
    • พลังงาน I สิ่งแวดล้อม I ความยั่งยืน
    • เทคโนโลยี I นวัตกรรม
    • E-commerce
    • กฎ I ระเบียบ I นโยบาย
    • อื่นๆ
    • INFOGRAPHICS
  • Glob Issue
  • ชี้ช่องจากทีมทูต
  • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • โอกาสใหม่ในต่างแดน
    • Thai Festival
  • รู้กฎก่อนรุก
    • ความตกลงว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ
  • Glob Insight
  • INTER ECON
  • เครือข่ายของเรา
    • GT Network
    • ลิงค์ที่น่าสนใจ
  • ติดต่อเรา

© 2016-2022 Globthailand.com Business Information Centers (BICs) Ministry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand. All rights reserved.

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In
X
X