จากการนำคณะผู้แทนไทยมาศึกษาดูง านในโครงการส่งเสริมเทคโนโลยีดิ จิทัลเพื่อขับเคลื่อนเมืองอัจฉริ ยะ (Smart City) ณ ราชอาณาจักรเบลเยียม ของสถานเอ กอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์ ระหว่างวันที่ 24-29 มิ.ย. 2561 พบว่าเบลเยียมมีแนวทางการบริหาร จัดการเมืองอัจฉริยะที่น่าสนใจดั งนี้[su_spacer size=”20″]
1. แนวทางการบริ หารจัดการและนโยบายที่เกี่ยวข้ อง เน้นแนวทาง 4 ประการ คือ 1) การพัฒนาที่ ตอบสนองความต้องการของประชาชน (Technology Put) ไม่ใช่การบังคับให้ใช้ (Technology Push) 2) การทํางานประสาน 4 ฝ่าย (Quadruple Helix) คือ รัฐบาล นักวิจัย บริษัทเอกชน และชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณ ฑ์/บริการ (หรือ living lab) 3) การพัฒนาที่มีส่วนร่วมกับประ ชาชน (Co-creation) และ 4) ความปลอดภั ยในการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy) เช่น การขอความยินยอมหากมี การใช้ข้อมูลส่วนบุคคล หรือการเลือกใช้กล้องถ่ายภาพควา มร้อน (Thermal camera) ที่ไม่เห็นรายละเอียด รูปร่างหน้าตาของผู้ถูกถ่ายภาพ เป็นต้นี้[su_spacer size=”20″]
2. การพัฒนาเทคโนโลยีเครือข่ ายไร้สาย ณ หน่วยวิจัย IDLab (Internet and Data Science Lab) ม. อันตเวิร์ป ภายใต้สถาบันวิจัย I mec ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านระบ บเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking) และระบบการประมวลผล ข้อมูลสําหรับเทคโนโลยี IoT ให้ สามารถทํางานได้แบบอัตโนมัติ (Distributed Intelligence)อาทิ มาตรฐานการสื่อสารข้อมูล หรือ Dash7ี้[su_spacer size=”20″]
3. การลงพื้นที่ศึกษาดูงาน ณ เขตเมืองอัจฉริยะ (Smart Zone) เมืองอันตเวิร์ป ซึ่งเป็ นความร่วมมือระหว่างเมืองอั นตเวิร์ปและสถาบันวิจัย Imec ภา ยใต้โครงการ City of Things (CoT) ครอบคลุมพื้นที่ 2.5 ตร. กม. และได้ดําเนินการมาเป็นระยะเวลา 5 ปี ปัจจุบันอยู่ในระยะทดสอบระบบ (Proof of Concept) และมีการติดตั้งอุ ปกรณ์เซ็นเซอร์และประมวลผลต่าง ๆ แล้ว
ทั้งนี้ จากการดำเนินโครงการฯ ได้มีการสร้างความร่วมมือระหว่า งกันด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษาร ะดับปริญญาเอก และระดับหลังปริญญาเอก (Postgraduate)ในหลักสูตร Inter net of Things และด้านการวิจัยร่ วมในกรอบ Internet of Things (IoTs) Testbed Facilities เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี IoTs ในไทยร่วมด้วยี้[su_spacer size=”20″]
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์ / คณะผู้แทนไทยประจําสหภาพยุโรป